วันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

เคมี อ.วศวิศว์ 23

การเขียนสูตรโมเลกุล
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ



1. สูตรโมเลกุล

 
 





2.สูตรแบบจุด / สูตรแบบเส้น


ฯลฯ

3.สูตรแบบย่อ






ฯลฯ
ประเภทของสารประกอบคาร์บอน
1.ใช้ลักษณะปฏิริยาเป็นเกณฑ์                            
1.1 Saturated Cpds  (อิ่มตัว -> ซิกม่า)                       
1.2 Unsaturated Cpds (ไม่อิ่มตัว -> อย่างน้อย 1Pi)     
2.ใช้โดยสร้างเป็นเกณฑ์                                            
2.1 Aliphatic Cpds โซ่เปิด (มีหัว กับ ท้าย)                  
2.1.1 Straight Chain แบบตรง                                               
2.1.2 Branched Chain แบบกิ่ง                                               
2.2 Alicyclic Cpds โซ่ปิด                                                      
3. Aromatic Cpds & Alicyclic Cpds                                        
ที่มีจำนวน อิเล็กตรอนPi = 4n + 2                                               
แล้ว n เป็นสมาชิกของ I บวก                                                        
ซึ่งเป็นกฎของ Huckle's Rule                                                           
4. Heterocyclic Cpds                                                                       
โซ่ปิดที่ไม่ได้ประกอบด้วย คาร์บอน ทั้งหมด                                      
เช่น                                                                                                        





Enantiomer - ต้องเป็นเงาก่อน





 <- รูปนี้เลยยยยย








Diastereomer (ไม่เป็นเงา)

















วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2554

เคมี อ.วศวิศว์ 22

การเขียนสูตรโครงสร้างสารประกอบอินทรีย์สูตรโครงสร้างของสารเป็นสูตรที่แสดงการจัดเรียงตัวของอะตอมโดยการเขียนสูตรนั้นอาจ
เขียนได้หลายแบบตัวอย่างเช่น สูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุด (dot structure) สูตรโครงสร้างลิวอิสdash แบบ
สูตรโครงสร้างแบบย่อ (condensed formula) และสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม
(bond-line formula)

สูตรโมเลกุลและโครงสร้างสารประกอบบางชนิด





วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2554

เคมี อ.วศวิศว์ 21

เคมีอินทรีย์ (Organic chemistry)
เป็นสาขาหนึ่งของวิชาเคมีว่าด้วยการศึกษา
โครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบของธาตุ คาร์บอน ซึ่งพบในธรรมชาติ และเป็นองค์ประกอบ
ของสิ่งมีชีวิต

           ในปี ค.ศ. 1828 เฟรดริช วูห์เลอร์ (Friedrich Woehler) สามารถสังเคราะห์สารประกอบ
ยูเรีย ได้เป็นผลสำเร็จโดยบังเอิญจากการระเหย สารละลายแอมโมเนียมไซยาเนต
(ammonium cyanate) NH4OCN

คุณสมบัติของสารอินทรีย์           
1.สารประกอบเคมีอินทรีย์เป็นสารประกอบที่เกิดจากการดึงดูดกันระหว่างอะตอมของธาตุต่างๆด้วยพันธะโคเวเลนต์
2.สารประกอบเคมีอินทรีย์จะหลอมเหลวหรือสะลายตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 300 °C 
3.ประกอบด้วยธาตุ C เป็นหลัก และธาตุอื่นๆเช่น H , N , O , S , Cl , Br

พันธะเคมี (Chemical Bonding)               
                   ทฤษฏีพันธะ (Chemical Bonding Theory)  เป็นการศึกษาสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมีของสารอินทรีซึ่งส่วนใหญ่จะประกอบด้วยพันธะ C ที่เกิดจากการใช้คู่อิเล็กตรอนร่วมกันเรียกว่า พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) โดย C จะมีการจัดเรียงตัวของ e- ดังนี้ 1s2 2s2 2p2 ซึ่งจากการตัดเรียนตัวดังกล่าวจะพบว่า C มีอิเล็กตรอนเดี่ยว 2 ตัวก็น่าจะสร้างได้เพียง 2 พันธะ แต่ในความเป็นจริง C กลับสร้างได้ถึง 4 พันธะ ทฤษฏีที่ใช้อธิบายหลังการดังกล่าวเรียกว่า ทฤษฏีพันธะเวเลนต์ (Valent Bond Theory)
                 ทฤษฏีพันธะเวเลนต์ (Valent Bond Theory)
เป็นทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายการเกิดพันธะที่ซ้อนเหลื่อมกัน กล่าวคือ C ได้รับพลังงานในถ่ายเถ e- 1ตัวจากออร์บิทอล 2s ไปสู่ 2p (1s2 2s1 2px1 2py1 2pz1 ) เกิดการผสมกันของ e- ในออร์บิทอล 2s และ 2p จะเรียกการผสมแบบนี้ว่า    ไฮบริไดเซชัน (Hydridization)

ไฮบริไดเซชันของ C แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่                                        

1. ไฮบริไดเซชันแบบ sp3 เกิดจากการผสม e- ใน 2s จำนวน 1 ออร์บิทอล กับ 2px 2py 2pz จำนวน 3 ออร์บิทอล ได้เป็น 4 ออร์บิทอลใหม่ มีลังษณะโครงสร้างเป็นทรงสี่หน้า (Tetrahedral) โดยออร์บิทอลทั้ง 4 นี้จะสร้างพันธะเดี่ยวที่เรียกว่า พันธะซิกมา



2. ไฮบริไดเซชันแบบ sp2 เกิดจากการผสม e- ใน 2s จำนวน 1 ออร์บิทอล กับ 2px 2py  จำนวน 2 ออร์บิทอล ได้เป็น  3 ออร์บิทอลใหม่ มีลังษณะโครงสร้างเป็น ทรงสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal Planar) และคงมี e- เหลื่ออยู่ใน 2pzซึ่งมีพลังงานสูงกว่า อีก 1 ออร์บริทอร์และสร้าง พันธะไพ (¶-bond)

                                      http://www.thaiblogonline.com/members/Goodfriend/fig1_25.gif


3.ไฮบริไดเซชันแบบ sp1 เกิดจากการผสม e- ใน 2s จำนวน 1 ออร์บิทอล กับ 2p จำนวน 1 ออร์บิทอล ได้เป็น  2 ออร์บิทอลใหม่ มีลังษณะโครงสร้างเป็นเส้นตรง (Linear) และคงมี e- เหลื่ออยู่ใน 2pzซึ่งมีพลังงานสูงกว่า อีก 2 ออร์บริทอร์และสร้าง พันธะไพ (¶-bond) ส่วนออร์บิทอลลูกผสมจะสร้าง
พันธะซิกมา






http://www.youtube.com/watch?v=JqldtDVrM4E