วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เคมี อ.วศวิศว์ 28

สารประกอบอโรมาติก
1.บทนำ
เป็นสารที่มีคาร์บอน และไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบโดยมีโครงสร้างหลักเป็นวง ไม่มีสูตรทั่วไป
2.การเรียกชื่อ
นิยมเรียกเป็นอนุพันธ์ของเบนซีน                  

                                                                                                                                                     
 เช่น 
                       



=  Benzenes                                                  






=   Methyl  benzenes





3.ปฏิกิริยาของสารประกอบอะโรมาติก
-ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอิเลกโตรไฟล์
               
-Halogenation of  Benzenes
       







        
  



            
  -Nitration of  Benzenes     
                          
     
              











  -Sulfonation of  Benzenes
               
  



            










  -Friedel-Crafts  Alkylation         
             

เคมี อ.วศวิศว์ 27

สารประกอบแอลไคน์
1.บทนำ
แอลเคนเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว โดยคาร์บอนจะมีพันธะสามระหว่างกัน 1 พันธะ (ประกอบด้วยพันธะซิกมา 1 พันธะ และพันธะไพ  2 พันธะ)มีสูตรทั่วไปเป็น CnH2n - 2 
 2.การเรียกชื่อ
การเรียกชื่อมี 2 ประเภท คือ  ชื่อสามัญและชื่อ IUPAC   โดยให้ตัวเลขของตำแหน่งคาร์บอนที่มีพันธะสามเป็นตำแหน่งที่น้อยที่สุด
เช่น      C2H2 เรียกว่า Ethyne       C3H4 เรียกว่า Propyne
3.การเตรียมสารประกอบแอลไคน์
-การเตรียมอะเซทิลีน
 6CH4  +  O2     ®  2C2H2  +  2CO  +  10H2
- การเตรียมแอลไคน์ด้วยปฏิกิริยากำจัดออก
CaC2  + 2H2O  ®  Ca(OH)2  +  C2H2
4.ปฏิกิริของสารประกอบแอลไคน์
- Hydrogenation of  Alkynes
CH3 - C CH  +  H2 ® CH3 -CH = CH2   ®  CH3 -CH2 - CH3
-Synthesis of  Alkenes




























- Halogenation of  Alkynes























   
-Oxidation Reaction

























-Polymerization of Acetylene

เคมี อ.วศวิศว์ 26

สารประกอบแอลคีน
1.บทนำ
แอลคีนเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนต่อกับคาร์บอนเป็นพันธะไพ สารประกอบแอลคีนเรียกอีกอย่างว่า Olefinsที่มีสูตรทั่วไปเป็น CnH2n      
สำหรับแอลคีนแบบโซ่ปิด มีสูตรทั่วไปเป็นCnH2n - 2
2.การเรียกชื่อ
การเรียกชื่อมี 2 ประเภท คือ  ชื่อสามัญและชื่อ IUPAC   
ก่อนอื่นในขั้นตอนแรกต้องจำชื่อบ่งบอกจำนวนคาร์บอนในแต่ละโมเลกุลให้ได้ก่อน โดยใช้เป็นคำอุปสรรค (Prefixes) ดังนี้
C-1  = Meth-
C-2  = Eth-
C-3  = Prop-
เช่น    CH2=CH2  เรียกว่า Ethylene          CH2=CH-CH3 เรียกว่า Propylene
3.การเตรียมสารประกอบแอลคีน
-Dehydration of Alcohols









        





- Reduction of Alkynes( Lindlar catalyst)  

R-C≡C-R   +   H2   &   Lindlar catalyst   ——>  cis R-CH=CH-R
R-C≡C-R   +   2 Na   in   NH3 (liq)   ——>  trans R-CH=CH-R   +   2 NaNH2


4.ปฏิกิริของสารประกอบแอลคีน
-Addition Reaction of Alkenes
            - Halogenation of  Alkenes
HC≡C-CH2-CH=CH2   +   Br2   ——>  HC≡C-CH2-CHBrCH2Br

           - Hydrogenation of  Alkenes
R-C≡C-R   +   H2  ——> R-CH=CH-R

          - Hydrohalogination of  Alkenes (Markovnikov ‘ s Rule)            
-Ozonolysis of Alkenes

















-Polymerization

เคมี อ.วศวิศว์ 25

สารประกอบแอลเคน
1.บทนำ
แอลเคนเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปเป็น CnH2n + 2 สำหรับโซ่ปิดหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าไซโคลแอลเคนหรือเรียกอีกอย่างว่า Paraffins มีสูตรทั่วไปเป็นCnH2n 
2.การเรียกชื่อ
การเรียกชื่อมี 2 ประเภท คือ  ชื่อสามัญและชื่อ IUPAC   
ก่อนอื่นในขั้นตอนแรกต้องจำชื่อบ่งบอกจำนวนคาร์บอนในแต่ละโมเลกุลให้ได้ก่อน โดยใช้เป็นคำอุปสรรค (Prefixes) ดังนี้
C-1  = Meth-
C-2  = Eth-
C-3  = Prop-
เช่น    C2H6  เรียกว่า Ethane          CH4  เรียกว่า Methane
3.การเตรียมสารประกอบแอลเคน
-Hydrogenation of  Alkenes  or  Alkynes
CH3 - CH = CH2  +  H2  ®  CH3 - CH2 - CH3
- Hydrogenation of  Alkylhalides
CH3 - CH2 - Cl  +  Zn  +  H+  ®  CH3 - CH3  +  Zn2+  + Cl-
4.ปฏิกิริยาของสารประกอบแอลเคน
-Halogenation of  Alkanes
CnH2n +2   +    X2    ®   CnH2n + 1X    +    HX
-Combustion  Reaction
C5H12 + 8O2  ® 5CO2  + 6H2O  + heat
5.สารประกอบไซโคลแอลเคน
-การเรียกชื่อ
ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับแอลเคนโซ่ตรง แต่ต้องนำหน้าด้วยคำว่า Cyclo 
เช่น 
           
 Cyclopropane 







Cyclobutane



-ปฏิกิริยาของสารประกอบไซโคลแอลเคน

+
Br2
®
+
HBr
Cyclohexane



Bromo cyclohexane
Hydrogen bromide